หว้านคำตำบลน่าอยู่ กู่โบราณพันปี ถิ่นคนดีมีน้ำใจ ไหมมัดหมี่งามยิ่ง ดงลิงตระการตา ภาษาชวนฟัง งามสะพรั่งข้าวหอมมะลิรสเลิศ เชิดชูคุณธรรม

thzh-CNen

  19272



1. ด้านกายภาพ

            1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต

            องค์การบริหารส่วนตำบลหว้านคำ ตั้งอยู่ที่  -  หมู่ที่ 1 ตำบลหว้านคำ  อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ   ตั้งห่างจากอำเภอราศีไศลไปทางทิศตะวันออกประมาณ  4.7 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 38.50  ตารางกิโลเมตร หรือ 23,812.50 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง   ดังนี้

ทิศเหนือ          ติดกับเขตอำเภอมหาชนะชัย  จังหวัดยโสธร

ทิศใต้            ติดกับเขตตำบลเมืองคง

ทิศตะวันออก      ติดกับเขตตำบลเมืองแคน

ทิศตะวันตก       ติดกับเขตตำบลดู่

 

            1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศของตำบลหว้านคำ   โดยรวมเป็นที่ราบลุ่ม

 

            1.3  ลักษณะภูมิอากาศ

                 ฤดูฝน  เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงปลายเดือนตุลาคม และมักจะปรากฏเสมอว่าฝนจะทิ้งช่วงในเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคมแต่ระยะเวลาการทิ้งช่วงมักจะไม่เหมือนกันในแต่ละปีและในช่วงปลายฤดูฝนมักจะมีพายุดีเปรสชั่น ฝนตกชุกบางปีอาจเกินภาวะน้ำท่วม

                  ฤดูหนาว ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหว้านคำ  ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือก่อนภูมิภาคอื่นโดยอุณหภูมิจะเริ่มลดต่ำลงตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ และจะหนาวจัดในช่วงมกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในระดับ 19.14  องศาเซนเซียส

                  ฤดูร้อน  อากาศจะเริ่มร้อนในเดือน มีนาคม ไปจนถึงเดือน พฤษภาคม ซึ่งอาจมีฝนเริ่มตกอยู่บ้างในปลายเดือนเมษายน และพฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ในระดับ  27.5 องศาเซนเซียส

 

            1.4 ลักษณะดิน

สภาพดินในพื้นที่ตำบลหว้านคำ เป็นดินร่วนปนทราย เหมาะสำหรับการปลูกข้าว  การใช้ประโยชน์ที่ดิน แบ่งได้ดังนี้

• ที่อยู่อาศัย   8,791.50 ไร่
• ทำนา           14,232 ไร่
• ทำสวน               6 ไร่
• ปศุสัตว์               4 ไร่
• พื้นที่ป่า            745 ไร่
• สวนผักไม้ดอก        2 ไร่
• พื้นที่แหล่งน้ำ        32 ไร่


           1.5 ลักษณะของแหล่งน้ำ

แหล่งน้ำธรรมชาติ

• บึง,หนอง และอื่น ๆ 27 แห่ง
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
• บ่อน้ำตื้น 38 แห่ง
• บ่อน้ำโยก 19 แห่ง


           1.6 ลักษณะของไม้/ป่าไม้

• ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ทรัพยากรป่าไม้มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์

 

2. ด้านการเมือง/การปกครอง

            อบต.หว้านคำ มีทั้งหมด 13 หมู่บ้าน ประชาชนให้ความร่วมมือด้านการเลือกตั้งเป็นอย่างดี เช่น การเลือกตั้งสมาชิกสภาอบต. ในปี พ.ศ. 2556 ประชาชนมาใช้สิทธิเลือกตั้ง จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งนายกอบต.และสมาชิกสภา อบต.จำนวน 3,065 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น 3,847 คน ปัญหาคือการแข่งขันทางการเมืองค่อนข้างสูง มีจุดที่น่าสังเกตคือ มีการย้ายเข้าย้ายออกช่วงที่จะมีการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นการเลือกผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภา นายกอบต. โดยเฉพาะ การคัดเลือกผู้ใหญ่บ้าน การแก้ไขปัญหาของอบต.คือ ขอความร่วมมือ ผู้นำ เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่รับผิดชอบให้ระมัดระวัง สอดส่องพฤติกรรมและให้รายงานอำเภอทราบ การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เกี่ยวกับข้อกฎหมายของการเลือกตั้งที่กระทำได้และทำไม่ได้ให้ประชาชนได้รับ

   2.1 เขตการปกครอง

               องค์การบริหารส่วนตำบลหว้านคำ มีจำนวนหมู่บ้านที่อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหว้านคำ จำนวน 13 หมู่บ้าน ดังนี้

 

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

ชื่อผู้ใหญ่บ้านแต่ละหมู่

1

บ้านหว้าน

นายลำไพ   สีเสน

2

บ้านหว้าน

นายรุ่งเรือง  ค่ำคูณดี

3

บ้านดอนม่วง

นายหอมนาน  แจ่มศรี

4

บ้านหนองปะอุง

นายสาคร   งามศิริ

5

บ้านดอนต่ำ

นายคำมูล  สีเสน

6

บ้านน้ำอ้อมน้อย

นายพูน   แหวนหล่อ

7

บ้านหนองโง้ง

นายสมร   แหวนหล่อ

8

บ้านหนองขี้นก

นายพิชิต   นิยม

9

บ้านหนองค้างไฟ

นายวิไล   ทิพวัน

10

บ้านน้ำอ้อมน้อย

นายสันต์  แหวนหล่อ

11

บ้านหนองโง้ง

นายสุรัตน์  นิลวัน

12

บ้านโนน

นางวิลัย   สีเสน

13

บ้านนานวล

นายสุนทอน  โพธิบุตร


 

2.2 การเลือกตั้ง
อบต.หว้านคำ แบ่งเขตการเลือกตั้ง ออกเป็น 13 เขต เลือกตั้ง
เขตเลือกตั้งที่ 1 บ้านหว้าน หมู่ 1
เขตเลือกตั้งที่ 2 บ้านหว้าน หมู่ 2
เขตเลือกตั้งที่ 3 บ้านดอนม่วง
เขตเลือกตั้งที่ 4 บ้านหนองปะอุง
เขตเลือกตั้งที่ 5 บ้านดอนต่ำ
เขตเลือกตั้งที่ 6 บ้านน้ำอ้อมน้อย หมู่ 6
เขตเลือกตั้งที่ 7 บ้านหนองโง้ง หมู่ 7
เขตเลือกตั้งที่ 8 บ้านหนองขี้นก
เขตเลือกตั้งที่ 9 บ้านหนองค้างไฟ
เขตเลือกตั้งที่ 10 บ้านน้ำอ้อมน้อย หมู่ 10
เขตเลือกตั้งที่ 11 บ้านหนองโง้ง หมู่ 11
เขตเลือกตั้งที่ 12 บ้านโนน
เขตเลือกตั้งที่ 13 บ้านนานวล
จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ข้อมูลเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2556)
- จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนายก อบต. 3,847 คน
- จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภา อบต 3,847 คน
จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง ครั้งล่าสุด (พ.ศ. 2556)
- จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งนายกอบต.และสมาชิกสภา อบต. จำนวน 3,065 คน จากผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น 2,748 คน คิดเป็นร้อยละ 71.76

3. ประชากร
3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน ประชากร รวม
ชาย หญิง
1 บ้านหว้าน 105 200 184 384
2 บ้านหว้าน 200 333 327 660
3 บ้านดอนม่วง 67 145 135 280
4 บ้านหนองปะอุง 78 137 143 280
5 บ้านดอนต่ำ 61 114 98 212
6 บ้านน้ำอ้อมน้อย 202 379 375 754
7 บ้านหนองโง้ง 72 147 139 286
8 บ้านหนองขี้นก 51 90 95 185
9 บ้านหนองค้างไฟ 105 230 248 478
10 บ้านน้ำอ้อมน้อย 138 266 233 499
11 บ้านหนองโง้ง 83 180 175 355
12 บ้านโนน 99 202 193 395
13 บ้านนานวล 76 145 158 303
รวม 1,337 2,568 2,503 5,071

หมายเหตุ อบต.หว้านคำ มีประชากรทั้งหมด 5,071 คน ข้อมูลประชากรตามทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง ณ วันที่ 31 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559

3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร

จำนวนประชากร จำแนกตามช่วงอายุ ปี 2559 ที่อาศัยอยู่ในครัวเรือนในวันสำรวจ
ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ระดับตำบล ปี 2559
ตำบลหว้านคำ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

สรุปประชากรที่อาศัยอยู่จริง ณ วันสำรวจ
มีครัวเรือนทั้งหมด 1,164 ครัวเรือน
จำนวนประชากรที่อาศัยอยู่จริง ทั้งหมด 3,708 คน
เพศชาย 1,855 คน เพศหญิง 1,853 คน

จำแนกตามช่วงอายุในข้อมูล จปฐ.

เพศชาย เพศหญิง รวม
คน % คน % คน %
น้อยกว่า 1 ปีเต็ม 6 0.32 5 0.27 11 0.33
1 ปีเต็ม – 2 ปี 18 0.97 16 0.86 34 0.92
3 ปีเต็ม – 5 ปี 56 3.02 41 2.21 97 2.62
6ปีเต็ม – 11 ปี 131 7.06 136 7.34 267 7.20
12 ปีเต็ม – 2 ปี 89 4.80 76 4.10 165 4.45
15 ปีเต็ม – 2 ปี 86 4.64 87 4.70 173 4.67
18 ปีเต็ม – 2 ปี 180 9.70 191 10.31 371 10.01
26 ปีเต็ม – 2 ปี 619 33.37 646 34.86 1,265 34.12
50 ปีเต็ม – 2 ปี 339 18.27 303 16.35 642 17.31
มากกว่า 60 ปี เต็มขึ้นไป 331 17.84 352 19.00 683 18.42
รวม 1,855 100.00 1,853 100.00 3,708 100.00

ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ระดับตำบล ปี 2559
ตำบลหว้านคำ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
จำแนกตามช่วงอายุแบบสากล

ช่วงอายุ เพศชาย เพศหญิง รวม
คน % คน % คน %
101 ปีขึ้นไป - - - - - 0.00
96 -100 ปี 1 0.05 - - 1 0.03
91- 95 ปี 1 0.05 - - 1 0.03
86- 90 ปี 7 0.38 8 0.43 15 0.40
81- 85 ปี 20 1.08 19 1.03 39 1.05
76- 80 ปี 62 3.34 51 2.75 113 3.05
71- 75 ปี 54 2.91 74 3.99 128 3.45
66- 70 ปี 87 4.69 93 5.02 180 4.85
61- 65 ปี 99 5.34 107 5.77 206 5.56
56- 60 ปี 149 8.03 141 7.61 290 7.82
51- 55 ปี 155 8.36 139 7.50 294 7.93
46- 50 ปี 181 9.76 188 10.15 369 9.95
41- 45 ปี 183 9.87 189 10.20 372 10.03
36- 40 ปี 108 5.82 141 7.61 249 6.72
31- 35 ปี 88 4.74 77 4.16 165 4.45
26-30 ปี 94 5.07 74 3.99 168 4.53
21- 25 ปี 104 5.61 104 5.61 208 5.61
16-20 ปี 144 7.76 144 7.77 288 7.77
11- 15 ปี 128 6.90 127 6.85 255 6.88
6-10 ปี 110 5.93 115 6.21 225 6.07
1- 5 ปี 74 3.99 57 3.08 131 3.53
น้อยกว่า 1 ปี 6 0.32 5 0.27 11 0.30
รวม 1,855 100.00 1,853 100 3,708 100.00

4. สภาพทางสังคม
4.1 การศึกษา
4.1.1 โรงเรียนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหว้านคำ มีดังนี้
• โรงเรียนบ้านหว้าน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 เปิดสอนระดับประถมศึกษา
• โรงเรียนบ้านน้ำน้อย ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 เปิดสอนระดับประถมศึกษา
• โรงเรียนบ้านหนองโง้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 เปิดสอนระดับประถมศึกษา
4.1.2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง
• ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.หว้านคำ
4.1.3 ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน/ห้องสมุดประชาชน 13 แห่ง

4.2 การสาธารณสุข
• โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน ขนาด 1 แห่ง
• อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100

4.3 อาชญากรรม
อบต.หว้านคำ ไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางอบต.จะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้

4.4 ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของอบต.หว้านคำ เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานของอบต.ที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาของอบต.สามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ อบต.ก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด

4.5 การสังคมสังเคราะห์
อบต.หว้านคำได้ดำเนินการด้านสงคมสังเคราะห์ ดังนี้
1 ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์
2. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
3. ประสานการทำบัตรผู้พิการ
4. ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน ยากไร้ รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง
5. ตั้งโครงการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน

5.ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
การคมนาคมระหว่างตำบลใช้เส้นทางที่สำคัญ คือ ศก 2022 มาทางทิศเหนือ
ของอำเภอราษีไศล
• ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้านปัจจุบันส่วนมากเป็นถนนหินคลุกแคบเป็นหลุม เป็นบ่อ และมีอุปสรรคในการคมนาคม ขนส่ง โดยเฉพาะในฤดูฝน
• ถนนในหมูบ้านบางสายเป็นถนนดิน และหินคลุกทำให้เกิดฝุ่นละอองเมื่อยวดยานพาหนะแล่นผ่านเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจและมีผลเสีย ต่อสุขภาพของประชาชน
5.2 การไฟฟ้า
ทั้ง 13 หมู่บ้านมีไฟฟ้าใช้แต่ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ เนื่องจากมีการปลูกบ้านและขยับขยายบ้านออกไปนอกเขตหมู่บ้านและมีบ้านมั่ง หมู่ที่ 11 ซึ่งมีเขตติดต่อกับอำเภอมหาชนะชัยห่างจาก
บ้านหนองโง้ง หมู่ที่ 11 ประมาณ 2,000 เมตร

5.3 การประปา
มีประปาหมู่ได้ให้บริการน้ำอุปโภคและบริโภคภายในหมู่บ้านตนเองและหมู่บ้านใกล้เคียงดังนี้
1) ประปาหมู่บ้านหว้าน หมู่ 2
2) ประปาหมู่บ้านดอนม่วง หมู่ 3
3) ประปาหมู่บ้านหนองปะอุง หมู่ 4
4) ประปาหมู่บ้านดอนต่ำ หมู่ 5
5) ประปาหมู่บ้านน้ำอมน้อย หมู่ 6
6) ประปาหมู่บ้านหนองโง้ง หมู่ 7
7) ประปาหมู่บ้านหนองขี้นก หมู่ 8
8) ประปาหมู่บ้านหนองค้างไฟ หมู่ 9
9) ประปาหมู่บ้านน้ำอ้อมน้อย หมู่ 10
10) ประปาหมู่บ้านโนน หมู่ 12
11) ประปาหมู่บ้านนานวล หมู่ 13

5.4 โทรศัพท์
• สถานีโทรคมนาคมอื่น ๆ 13 แห่ง คือ ตู้โทรศัพท์สาธารณะ
6.ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
ประชาชนในพื้นที่ตำบลหว้านคำส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เป็นหลักแต่ก็มี
อาชีพรองลงมาคือ ค้าขาย รับจ้าง และรับราชการ
พื้นที่ทางการเกษตร แบ่งได้เป็น
• พื้นที่ทำนา 14,232 ไร่
• พื้นที่ทำสวน 6 ไร่
• สวนผักไม้ดอก 2 ไร่
6.2 การประมง
องค์การบริหารส่วนตำบลหว้านคำไม่มีอาชีพประมงและพื้นที่ทำการประมง
6.3 การปศุสัตว์
• ปศุสัตว์ 4 ไร่
• ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ จำนวน 4 แห่ง
6.4 การบริการ
• ปั๊มน้ำมัน จำนวน 7 แห่ง
• ร้านเสริมสวย จำนวน 2 แห่ง
• ร้านซ่อมรถ จำนวน 4 แห่ง
6.5 การท่องเที่ยว
• กู่แก้วทิศ ตั้งอยู่ที่บ้านหว้าน หมู่ที่ 1 เป็นสถานที่เก็บรักษาวัตถุโบราณที่มีมูลค่ามากไว้ให้บุตรหลานได้ศึกษา
• สวนลิงบ้านหว้าน เป็นสถานที่มีศาลปู่ตา ตั้งอยู่ที่บ้านหว้าน หมู่ที่ 1
ที่ชาวบ้านให้ ความเคารพนับถือ มีลิงจำนวนประมาณ 1,100 ตัว ประชาชนในเขต อำเภอราษีไศลและอำเภอใกล้เคียงได้เดินทางมาเที่ยวชมและให้อาหารขนมแก่ลิง ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบล
หว้านคำ ได้จัดสรรงบประมาณมาซื้ออาหารให้ลิงทุกวัน

6.6 อุตสาหกรรม
• โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 1 แห่ง
• อุตสาหกรรมขนาดเล็ก จำนวน 5 แห่ง
• โรงกลึง จำนวน 1 แห่ง

6.7 การพาณิชย์/กลุ่มอาชีพ
• ร้านค้า จำนวน 45 แห่ง
• กลุ่มจักสาน จำนวน 1 กลุ่ม
• โรงสี จำนวน 35 แห่ง
• โรงฆ่าสัตว์ จำนวน 2 แห่ง

6.8 แรงงาน
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชากรที่มีอายุ 15 – 60 ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ร้อยละ 95 เมื่อเทียบกับอัตราส่วนกับจังหวัด ร้อยละ 73.99 ซึ่งสูงกว่ามาก แต่ค่าแรงในพื้นที่ต่ำกว่าระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานด้านการเกษตร ประชากรอายุระหว่าง 25 – 50 ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้

7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านและชุมชน
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน/ชุมชน
อบต.หว้านคำ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
ชื่อหมู่บ้าน ชาย (คน) หญิง (คน) ครัวเรือน
(ครัวเรือน) พื้นที่ (ไร่)
ดอนต่ำ ม.5 115 99 58 994.00
ดอนม่วง ม.3 137 130 66 1,202.00
น้ำอ้อมน้อย ม.10 266 233 135 3,406.00
น้ำอ้อมน้อย ม.6 384 370 169 4,008.00
บ้านนานวล หมู่ 13 151 158 75 1,335.00
บ้านหนองขี้นก ม.8 90 96 51 1,513.00
หนองค้างไฟ ม.9 230 253 101 1,382.00
หนองปะอุง ม.4 138 148 76 1,464.00
หนองโง้ง ม.11 182 177 83 1,701.00
หนองโง้ง ม.7 150 144 71 1,349.00
หว้าน ม.1 198 184 105 1,473.00
หว้าน ม.2 340 328 198 1,974.00
โนน ม.12 205 195 98 1,268.00
สรุปรวม 2,586 2,515 1,286 23,069

7.2 ข้อมูลด้านการเกษตร
7.2.1 ประเภทของการทำการเกษตร (ทำนา

บ้าน 2.1 ประเภทของการทำการเกษตร (ทำนา)
อบต.หว้านคำ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
ในเขตชลประทาน นอกเขตชลประทาน
จำนวนครัวเรือน
(ครัวเรือน จำนวนไร่ (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่) ต้นทุนเฉลี่ย
(บาท./ไร่) ราคาขายเฉลี่ย
(บาท./ไร่) จำนวนครัวเรือน
(ครัวเรือน) จำนวนไร่ (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่) ต้นทุนเฉลี่ย
(บาท./ไร่) ราคาขายเฉลี่ย
(บาท./ไร่)

ดอนต่ำ
ม.5 0 0 0.00 0.00 0.00 58 994 400.00 2,500.00 3,600.00
ดอนม่วง
ม.3 0 0 0.00 0.00 0.00 66 1,202 320.00 1,000.00 3,520.00
น้ำอ้อมน้อย ม.10 40 1,406 360.00 1,000.00 3,240.00 195 2,000 360.00 1,000.00 3,240.00
น้ำอ้อมน้อย ม.6 60 1,500 381.00 3,500.00 3,420.00 109 5,500 380.00 3,500.00 3,420.00
บ้านนานวล
หมู่ 13 0 0 0.00 0.00 0.00 75 1,335 460.00 4,500.00 5,520.00
บ้านหนองขี้นก ม.8 0 0 0.00 0.00 0.00 51 1,513 450.00 3,500.00 0.00
หนองค้างไฟ ม.9 0 0 0.00 0.00 0.00 1,010 1,382 350.00 4,500.00 3,600.00
หนองปะอุง ม.4 0 0 0.00 0.00 0.00 76 1,464 360.00 2,000.00 3,600.00
หนองโง้ง ม.11 0 0 0.00 0.00 0.00 83 1,701 350.00 4,000.00 3,600.00
หนองโง้ง ม.7 0 0 0.00 0.00 0.00 71 1,349 400.00 2,600.00 3,600.00
หว้าน ม.1 0 0 0.00 0.00 0.00 105 1,473 350.00 4,000.00 4,200.00
หว้าน ม.2 0 0 0.00 0.00 0.00 198 1,974 350.00 4,000.00 4,200.00
โนน ม.12 0 0 0.00 0.00 0.00 98 1,268 400.00 4,000.00 4,500.00
สรุปรวม 100 2,906 370.50 2,250.00 3,330.00 2,195 23,155 379.23 3,161.54 3,883.33

7.2.2 ประเภทของการทำการเกษตร (ทำสวน)

2.2 ประเภทของการทำการเกษตร (ทำสวน หอมแดง
อบต.หว้านคำ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
ชื่อหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน จำนวนไร่ ผลผลิตเฉลี่ย ต้นทุนเฉลี่ย ราคาขายเฉลี่ย
(ครัวเรือน) (ไร่) (กก./ไร่) (บาท./ไร่) (บาท./ไร่)
บ้านหว้าน หมู่ 2 20 5 600 3,000.00 8,000.00
สรุปรวม 20 5 600 3,000.00 8,000.00

7.2.3 ประเภทของการทำการเกษตร (ทำไร่)

ชื่อหมู่บ้าน 2.3 ประเภทของการทำการเกษตร (ทำไร่)
อบต.หว้านคำ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
อ้อย
มัน
จำนวนครัวเรือน
(ครัวเรือน) จำนวนไร่
(ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่) ต้นทุนเฉลี่ย
(บาท./ไร่) ราคาขายเฉลี่ย
(บาท./ไร่) จำนวนครัวเรือน
(ครัวเรือน) จำนวนไร่
(ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่) ต้นทุนเฉลี่ย
(บาท./ไร่) ราคาขายเฉลี่ย
(บาท./ไร่)
หว้าน
ม.1 8 15 1500 1700 1700
ดอนม่วง
ม.3 50 100 1000 2000 1500
หนองค้างไฟ
ม.9 10 20 2500 2000 4500
หนองโง้ง ม.11 15 30 1000 1000 1500
หว้าน ม.2 1 1 8000 2000 8000
น้ำอ้อมน้อย
ม.10 20 40 700 1000 1500
โนน ม.12 10 20 2000 500 1500
นานวล ม.13 20 100 3000 2500 4500
หนองโง้ง ม.6 10 20 700 1500 1120
หนองโง้ง ม.4 14 20 3000 2120 1500
หว้าน ม.8 5 5 1000 500 1500
หว้าน ม.5 5 5 1500 1000 1500
สรุปรวม 168 376 2,158.33 1,485.00 2,526.67

7.3 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
ชื่อหมู่บ้าน 3.1 แหล่งน้ำทางการเกษตร (ปริมาณน้ำฝน)
อบต.หว้านคำ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
เพียงพอ
(หมู่บ้าน) ไม่เพียงพอ
(หมู่บ้าน)
ดอนต่ำ ม.5 0 1
ดอนม่วง ม.3 0 1
น้ำอ้อมน้อย ม.10 0 1
น้ำอ้อมน้อย ม.6 0 1
บ้านนานวล หมู่ 13 0 1
บ้านหนองขี้นก ม.8 0 1
หนองค้างไฟ ม.9 0 1
หนองปะอุง ม.4 0 1
หนองโง้ง ม.11 0 1
หนองโง้ง ม.7 0 1
หว้าน ม.1 0 1
หว้าน ม.2 0 1
โนน ม.12 0 1
สรุปรวม 0 13

ข้อมูล ณ 12/10/2559

ชื่อหมู่บ้าน 3.2 แหล่งน้ำทางการเกษตร (แหล่งน้ำธรรมชาติ)
อบต.หว้านคำ ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
แม่น้ำ ห้วย/ลำธาร คลอง หนองน้ำ/บึง น้ำตก
เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง
หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน
ดอนต่ำ ม.5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
ดอนม่วง ม.3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
น้ำอ้อมน้อย ม.10 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 1 0 1 0 0 0 0
น้ำอ้อมน้อย ม.6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 1 0 1 0 0 0 0
บ้านนานวล หมู่ 13 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
บ้านหนองขี้นก ม.8 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองค้างไฟ ม.9 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองปะอุง ม.4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองโง้ง ม11 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองโง้ง ม.7 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หว้าน ม.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หว้าน ม.2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
โนน ม.12 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
สรุปรวม 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 0 2 0 13 0 13 0 0 0 0

อหมู่บ้าน 3.3 แหล่งน้ำทางการเกษตร (มนุษย์สร้าง)
อบต.หว้านคำ ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
แก้มลิง อ่างเก็บน้ำ ฝาย สระ คลองชลประทาน
เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง
หมู่บ้าน (หมู่บ้าน) หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน หมู่บ้าน (หมู่บ้าน) (หมู่บ้าน) (หมู่บ้าน)
ดอนต่ำ ม.5 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
ดอนม่วง ม.3 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
น้ำอ้อมน้อย ม.10 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 1 0 1
น้ำอ้อมน้อย ม.6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
บ้านนานวล หมู่ 13 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
บ้านหนองขี้นก ม.8 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
หนองค้างไฟ ม.9 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองปะอุง ม.4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองโง้ง ม.11 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หนองโง้ง ม.7 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
หว้าน ม.1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
หว้าน ม.2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
โนน ม.12 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0
สรุปรวม 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 10 0 10 0 1 0 1

ชื่อหมู่บ้าน ส่วนที่ 4 : ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
อบต.หว้านคำ ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ
บ่อบาดาลสาธารณะ บ่อน้ำตื่นสาธารณะ ประปาหมู่บ้าน(ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค) แหล่งน้ำธรรมชาติ ครัวเรือนในหมู่บ้านนี้ มีน้ำกิน น้ำใช้ เพียงพอหรือไม่
ไม่มี เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง ไม่มี เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง ไม่มี เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง ไม่มี เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง ไม่มี เพียงพอ ไม่เพียงพอ ทั่วถึง ไม่ทั่วถึง เพียงพอ ไม่เพียงพอ
(หมู่บ้าน) (หมู่บ้าน)
ดอนต่ำม.5 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
ดอนม่วง ม.3 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
น้ำอ้อมน้อย ม.10 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
น้ำอ้อมน้อย ม.6 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
บ้านนานวล หมู่13 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 1
บ้านหนองขี้นก ม.8 1 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
หนองค้างไฟ ม.9 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
หนองปะอุง ม.4 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0
หนองโง้ง ม.11 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
หนองโง้ง ม.7 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
หว้าน ม.1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0
หว้าน ม.2 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0
โนน ม.12 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1
สรุปรวม 10 0 3 0 1 6 0 7 0 4 0 0 13 0 11 13 0 0 0 0 12 0 1 0 0 0 10

8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
8.1 การนับถือศาสนา
- ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98
- วัด/สำนักสงฆ์ 6 แห่ง
• วัดบ้านหว้าน
• วัดบ้านหนองปะอุง
• วัดบ้านหนองโง้ง
• วัดบ้านน้ำอ้อมน้อย
• ที่พักสงค์ดอนต่ำ
• ที่พักสงค์ดอนตาล

8.2 ประเพณีและงานประจำปี
- ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม
- แห่ช้างสืบสานประเพณีบุญผะเหวด ประมาณเดือน เมษายน
- ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน
- ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน พฤศจิกายน
- ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม

8.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตเทศบาลได้อนุรักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม วิธีการทอเสื่อจากต้นกก และวิธีการจับปลาธรรมชาติ
ภาษาถิ่น ส่วนมากร้อยละ 90 % พูดภาษาอิสาน

8.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
ประชาชนในเขตเทศบาลได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่

9. ทรัพยากรธรรมชาติ
9.1 น้ำ ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน และน้ำดิบจากแม่น้ำชี (อยู่นอกเขต) ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้ และบางแห่งเค็ม ไม่สามารถใช้ดื่มและอุปโภคได้
9.2 ป่าไม้ ในเขต อบต.ไม่มีป่าไม้
9.3 ภูเขา ในเขต อบต.ไม่มีภูเขา
9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ของ อบต.ส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลำดับ และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ ปัญหาคือ เนื่องจากว่าพื้นที่บางส่วนเป็นดินเค็ม น้ำใต้ดินก็เค็ม หรือไม่ก็เป็นน้ำกร่อย ไม่สามารถที่จะนำน้ำจากใต้ดินมาใช้ในการอุปโภค-บริโภคได้ได้ ต้องอาศัยน้ำดิบจากแหล่งอื่น และน้ำฝน น้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นของประชาชน เอกชน ปัญหาด้านขยะ เมื่อชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น

*************************************************